เนื้อหาที่เรียน
กิจกรรมการสอนแบบลงมือปฏิบัติ (มาเรียนและไม่มาเรียน)
- ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงเริ่มจากนามธรรมนามไปสู่รูปธรรม
ทดสอบก่อนเรียน
- มาตราฐานคืออะไรและมีประโยน์อย่างไร
- สาระและมาตราฐานการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง
- สาระและมาตราฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนทำได้อย่างไรบ้าง
เพื่อนนำเสนอบทความ
- เลขที่ 10 Mathematics ของวัยซน
ร้องเพลงจัดแถว
สองมือเราชูตรง แล้วเอาลมาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายมาข้างหน้า แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง
ร้องเพลงซ้ายขวา
ยืนให้ตัวตรง ก้มหัวลงตบมือแผละ
แขนซ้าย(ขวา)อยู่ไหน หันตัวไปทางนั้นแหละ
ร้องเพลงนกกระจิบ
นั่นนกบินมาริบ ริบ นกกระจิบ 1 2 3 4 5
อีกฝูงบินล่องรอยมา 6 7 8 9 10 ตัว
กรอบมาตราฐานการเรียนรู้คณิตศาศตร์ปฐมวัย
- รู้ในสิ่งที่เป็นพื้นฐานทางคณิศาสตร์ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา
2 : การวัด
3 : เราขาคณิต
4 : พีชคณิต
5 : การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย
- มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ เช่น จำนวนนับ 1-20 เข้าใจหลักการนับ รู้จัำนวน เรียงลำดับเป็นต้น
- มีความเข้าใจพื้นฐาน คือ ความยาว สั้น น้ำหนัก
- มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต เช่น ตำแหน่ง ทิศทาง
- มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนก สีที่สัมพันธ์
- มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในแผลภูมิอย่างง่าย
- มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ
มาตราฐาน ค.ป. 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
สาระที่ 2 : การวัด
มาตราฐาน ค.ป. 2.1 เข้าใจพ้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก และปริมาตร
มาตราฐาน ค.ป. 2.2 เงิน,เวลา
สาระที่ 3 : เราขาคณิต
มาตราฐาน ค.ป. 3.1 รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทางและระยะทาง
มาตราฐาน ค.ป. 3.2 รู้จักจำนวนรูปแบบเรขาคณิตและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 : พีชคณิต
มาตราฐาน ค.ป. 4.1 รู้จักรูปแบบความสัมพันธ์
สาระที่ 5 : การสร้างแผนภูมิความสัมพันธ์
มาตราฐาน ค.ป. 5.1 เด็กสามารถนำเสนอข้อมูลในแผลภูมิอย่างง่ายได้
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตราฐาน ค.ป. 6.1 การแก้ไขปัญหา การใช้เหตุผล การส่อสาร การเคลื่อนไหว ความรู้ต่าง ไ ทางคณิคศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์อื่น ๆ ได้
วิธีการสอน
- อาจารย์เปิดโอกาสให้เด็กทำกิจกรรมอย่างเต็มที่
- มีการทบทวนความรู้เดิมที่เรียนมาในสัปดาห์ที่แล้ว
ทักษะที่ได้รับ
- ได้รับทักษะการคิดวิเคราะห์
- ได้รับควาสนุกสนานกับกิจกรรมที่อาจารย์จัด
การประยุกต์ใช้
- สามารถนำกิจกรรมที่อาจารย์ทำก่อนเรียนไปใช้ในการเรียนการสอนในภายภาคหน้าได้
บรรยากาศในการสอน
- โดยรวมเพื่อนมีความตั้งใจเรียน บางคนมีการเตรียมความพร้อมในการเรียนไม่ดี เช่น ลืมเอาบทความมานำเสนอ
- แอร์เย็นเกินไป
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาไม่เคยมาช้ากว่าเด็ก
- มีกิจกรรมให้เด็กทำตลอดก่อนเข้าเรียน
- มีสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น